• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

🛒การเจาะสำรวจชั้นดิน (Soil Boring) 📢และ🎯 การเจาะสำรวจดินในงานก่อสร้าง📌

Started by Chigaru, July 24, 2024, 05:33:09 AM

Previous topic - Next topic

Chigaru

การสำรวจดิน 🦖คือกรรมวิธีการเจาะลงไปในชั้นดิน, เก็บตัวอย่างดิน, การทดสอบดินในสนาม, การหยั่งลึกชั้นดิน 👉หรือใช้เทคนิคอื่น ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งลักษณะชั้นดินทั้งทางแนวดิ่ง และลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางแนวราบ เพียงพอในการที่จะใช้ออกแบบ 👉หรือศึกษาทางด้านปฐพีกลศาสตร์ การเจาะสำรวจดินต้องพิจารณาการใช้งาน เช่น งานถนนหรือสนามบิน การสำรวจจะกระทำเพียงตื้น ๆ แต่งานฐานรากลึกต้องเจาะลึกกว่าปลายเข็มที่ใช้ ⚡สำหรับในบทนี้จะพูดถึงวิธีการเจาะสำรวจดินขั้นพื้นฐาน โดยใช้ สว่านมือ, การเจาะล้าง (Wash Boring) 🦖และการเก็บตัวอย่างดินด้วยกระบอกบาง🛒

🛒🛒🛒เจาะสำรวจดินก่อนการก่อสร้างเพื่ออะไร?📌📌📌

1. การทราบประเภทและชนิดของดินใต้พื้นที่ ✅และรู้ลักษณะเชิงกลของดิน เราจะได้เลือกใช้ฐานรากได้ถูกประเภท 👉เช่น หากดินแข็งพออาจจะเลือกใช้เป็นฐานแผ่แทน✅

2. การรู้ความลึกของชั้นดินแข็ง ✨ช่วยในการคำนวณกำลังรับน้ำหนักเสาเข็ม🎯 และเลือกขนาดและความยาวเสาเข็มที่เหมาะสม🛒

3. เพื่อลดความผิดพลาดในการตอกเสาเข็ม ✅เพราะหากพบชั้นดินแข็งแต่ไม่หนาและลึกไม่มาก 📢อาจทำให้คนตอกเสาเข็มหยุดตอก เพราะคิดว่าถึงชั้นดินแข็งแล้ว 🦖ทั้งที่จริง ๆ สามารถตอกทะลุลงไปได้อีก 🛒หากดินในบริเวณที่สำรวจมีความผันผวนมาก วิศวกรควรสั่งให้เจาะสำรวจดินหลาย ๆ หลุมให้เพียงพอ เพื่อเปรียบเทียบ 👉เพราะอาจต้องออกแบบฐานรากหลายแบบ สำหรับก่อสร้างอาคารนั้น👉



📢📢📢การสำรวจดิน (Soil Exploration)🛒🛒🛒

การเจาะดิน🎯คือการการขุดหลุมในดินเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชั้นดิน📌และเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำมาทดสอบคุณสมบัติในห้องปฏิบัติการ📢โดยทั่วไปการสำรวจชั้นดินที่ใช้มากในประเทศไทย 🎯ได้แก่

1. การใช้สว่านมือ (Hand Auger) 🌏เป็นการเจาะที่ใช้แรงคน โดยใช้เครื่องมือสว่านมือและก้านเจาะดังรูปด้านล่าง 🎯โดยที่ก้านเจาะซึ่งยาวประมาณ 1 เมตร สามารถต่อให้ยาวหลาย ๆ ท่อนได้ เมื่อกดและหมุนก้านจนดินเต็มสว่านแล้วดึงขึ้นเพื่อนำดินออก 🥇ดินส่วนนี้สามารถนำไปทดสอบคุณสมบัติบางประเภททางวิศวกรรม 🛒การเจาะด้วยสว่านมืออาจทำได้ลึกถึง 6–10 เมตร ในดินเหนียวแข็งปานกลาง ⚡ข้อเสียของการเจาะประเภทนี้คือไม่สามารถเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำมาหาคุณสมบัติด้านความแข็งแรงหรือการทรุดตัวของดินได้เนื่องจากโครงสร้างดินถูกทำลายโดยสว่าน📢

2. การเจาะโดยใช้การฉีดล้าง (Wash Boring) 📌คือการใช้แรงดันน้ำฉีดเจาะทำลายโครงสร้างดินเพื่อให้เกิดหลุม และเกิดการรบกวนดินด้านล่างน้อยที่สุด ✨วิธีการเจาะเริ่มโดยการสูบน้ำผ่านก้านเจาะไปยังหัวฉีดที่ก้นหลุมพร้อมกับการกระแทกหรือหมุนของหัวเจาะ 📌ทำให้ดินก้นหลุมหลุดไหลตามน้ำขึ้นมาบนผิวดินลงในอ่างตกตะกอนแล้วสูบน้ำที่ใสนำไปใช้ได้อีก 📌ดังรูปด้านล่าง วิธีนี้ต้องอาศัยสามขา (Tripod) เครื่องกว้าน (Motor และ Catch head) 📌และปั๊มน้ำ ในกรณีที่เจาะในชั้นของดินอ่อน จะต้องใช้ปลอกกันดินพัง (Casing)ด้วย โดยต่อเป็นท่อน ๆ 🦖และเมื่อเจาะถึงชั้นทรายจะไหลเข้ามาในหลุมจึงจำเป็นต้องผสมสารเบนโทไนต์ (Bentonite) ลงไปกับน้ำ ✨เนื่องจากเบนโทไนต์คือแร่ชนิด Montmollionite มีความสามารถในการดูดน้ำดีและพองตัวได้มาก 🦖ทำให้ความหนาแน่นของน้ำภายในหลุมมากกว่าน้ำในชั้นทราย⚡ น้ำจึงไม่ไหลเข้าในหลุม การเจาะแบบนี้สามารถหยุดเพื่อเก็บตัวอย่างดินได้ตามระยะที่กำหนด 🦖การเจาะสำรวจในกรุงเทพฯ สำหรับการก่อสร้างอาคารจะอยู่ที่ความลึก 30-80 เมตร ขึ้นอยู่กับน้ำหนักของอาคาร📌
Tags : เจาะสำรวจชั้นดิน